แบตเตอรี่ชนิดลิเธียมไอออนกับโพลีเมอร์ มาดูคุณสมบัติและความแตกต่างกัน
แบตเตอรี่ชนิดลิเธียมไอออน (Lithium Ion Batteries)
ประเภท กลุ่มที่ 2 (กลุ่มแรก Ni-Cad)
ปฏิกริริยาทางเคมี แตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับอิเล็กโทรไลท์
อุณภูมิในการปฏิบัติการ 4º F ถึง 140º F ( -20º C ถึง 60º C)
เหมาะแก่การใช้งานกับ มือถือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์มือถือ (สมาร์ทโฟนนั่นเอง)
แรงดันเริ่มต้น 3.6 & 7.2
ความจุ แตกต่างกันไป แต่ปกติเป็น 2 เท่าของ Ni-Cad
อัตราการคลายประจุ น้อย
อายุการใช้งาน 300 – 400 cycles ทุก 100%
อุณภูมิในการชาร์จ 32º F ถึง 140º F (0º C ถึง 60º C)
อายุการเก็บรักษา สูญเสียประจุน้อยกว่า 0.1% ต่อเดือน
อุณหภูมิในการเก็บ -4º F ถึง 140º F ( -20º C ถึง 60º C)
การกำจัด
สามารถนำไปรีไซเคิลได้
หมายเหตุอื่นๆ
เหมาะแก่การชาร์จภายในอุปกรณ์มากกว่าการชาณืจภายนอก
การผลิตขึ้นมา ถูกจำกัดในรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า
เบากว่าแบตเตอรีจำพวกนิกเกิล (Ni-Cad และ NiHM)
ข้อดีของลิเธียมไอออน
ความหนาแน่นพลังงานสูง
ไม่จำเป็นต้องกระตุ้นก่อนใช้ หลังจากเก็บเป็นเวลานาน
มีอัตราการคายประจุตัวเองต่ำ
ไม่ต้องดูแลรักษามาก
ขีดจำกัดของลิเธียมไอออน
จำต้องใช้วงจรป้องกันแรงดันและกระแสให้อยู่ในเขตปลอดภัย
มีการเสื่อมอายุตามเวลาแม้ว่าจะไม่มีการใช้งาน
อัตราการจ่ายกระแสไม่สูงมาก ไม่เหมาะกับงานที่ใช้โหลดหนักๆ
แบตเตอรี่ชนิดลิเธียมโพลีเมอร์ (Lithium Polymer Batteries)
ปฏิกิริยาทางเคมี แตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับอิเล็กโทรไลท์
อุณภูมิในการปฏิบัติการ ประสิทธิภาพขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ
เหมาะแก่การใช้งานกับ มือถือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์มือถือ (สมาร์ทโฟนนั่นเอง)
แรงดันเริ่มต้น 3.6 & 7.2
ความจุ แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับแบตเตอรี่
อัตราการคลายประจุ น้อย
อายุการใช้งาน 300 – 400 cycles
อุณภูมิในการชาร์จ 32º F ถึง 140º F (0º C ถึง 60º C)
อายุการเก็บรักษา สูญเสียประจุน้อยกว่า 0.1% ต่อเดือน
อุณหภูมิในการเก็บ -4º F ถึง 140º F ( -20º C ถึง 60º C)
การจัดการ รีไซเคิลได้
อื่นๆ
เหมาะแก่การชาร์จภายในอุปกรณ์มากกว่าการชาณืจภายนอก
เบากว่าแบตเตอรีจำพวกนิกเกิล (Ni-Cad และ NiHM)
การผลิต ไม่จำกัดในด้านรูปทรง
ข้อดีของลิเธียมโพลีเมอร์
สามารถทำให้บางมากๆ ได้ เช่น แบตเตอรี่ขนาดบางเท่าบัตรเครดิต
ไม่จำกัดรูปแบบ ผู้ผลิตไม่จำต้องจำกัดอยู่แค่ขนาดเซลมาตรฐาน ขนาดที่ต้องการสามารถสั่งผลิตได้
น้ำหนักเบา ใช้เพียงห่อแล้วซีลแบบง่ายๆ ไม่ต้องใช้ตัวถังโลหะ
ปลอดภัย รับการชาร์จไฟเกินได้มากกว่า โอกาสของการรั่วของอิเลกโตรไลท์ลดลง
ขีดจำกัดของลิเธียมโพลีเมอร์
ความหนาแน่นพลังงานต่ำกว่า และจำนวนรอบการใช้งานที่ต่ำกว่าลิเธียมไอออนธรรมดา
ราคาแพงกว่า
ไม่มีขนาดมาตรฐานให้เลือก จึงจำต้องสั่งจำนวนมากๆ
อัตราส่วนค่าใช้จ่ายต่อพลังงานที่เก็บได้ มีค่าสูงกว่าลิเธียมไอออน
ข้อเปรียบเทียบการใช้งานระหว่างแบตเตอรี่ทั้ง 2 ชนิด
Lithium Polymerมีการคายประจุช้ากว่า
Lithium Polymer ของเหลวด้านในเป็นเจล ไม่ติดไฟ ปลอดภัย ลดความเสี่ยงเรื่องการระเบิด
Lithium Polmer น้ำหนักเบากว่าที่ความจุเท่ากัน และไม่จำกัดรูปทรงในการผลิต
Lithium Polymer รับการชาร์จไฟเกินได้มากกว่า
Lithium Polymer ไม่จำเป็นต้องกระตุ้นก่อนใช้ หลังจากเก็บเป็นเวลานาน
Lithium Polymer ใช้งานได้ยาวนานกว่าแม้ไม่ได้ใช้งาน ไม่เสื่อมตามกาลเวลา
Lithium Polymer มีอัตราการจ่ายกระแสที่สูงกว่า สามารถใช้งานที่ใช้โหลดหนักๆได้
Lithium Ion มีราคาถูกกว่า
Lthium Ion ใช้ระเวลาในการประจุไฟน้อยกว่า
ที่มา: http://www.v-powers.com/article/12/ความแตกต่างระหว่าง-แบตเตอรี่-lithium-ion-และ-lithium-polymer